เครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่ต้องได้รับการออกแบบให้มีเสถียรภาพสูง การเกิดปัญหาที่ใดที่หนึ่ง บางจุดไม่น่าจะมีผลกระทบอะไร แต่สำหรับประเทศไทยไม่ได้เป็นอย่างนั้น วงจรของไอเอสพี ส่วนใหญ่ก็ใช้เส้นทางเดียวกัน และไปสวิตซ์ที่สหรัฐอเมริกา ก่อนที่จะไปยังประเทศต่างๆ หากมองอีกมุมหนึ่งก็เห็นได้ว่า ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นสร้างความคิดให้ดำเนินการพัฒนาและแก้ปัญหาในช่วงที่เครือข่ายโดยรวมไปสหรัฐอเมริกามีสภาพช้าและติดขัด มีเสียงบ่นจำนวนมากจากผู้ใช้งาน ผู้ใช้งานส่วนใหญ่เริ่มรู้สึกหงุดหงิด ทำนองเดียวกันเมื่ออินเตอร์เน็ตช้าลงและช่วงวงจรลดลงจากปัญหาดังกล่าว สิ่งที่กระทบมากที่สุดคือ ผู้ใช้ทรัพยากรจากต่างประเทศ เช่น ผู้ใช้งานเมล์บล็อกซ์ที่อยู่ต่างประเทศ hotmail.com เพราะการใช้งานเมล์บล็อกซ์เหล่านี้ไม่ได้เลย ก็นับว่าเป็นเรื่องที่ดีที่ทำให้หลายคนต้องหาเมล์บล็อกว์ที่อยู่ในเมืองไทย ก็นับว่าปัยหาดังกล่าวที่เกิดขึ้นทำให้หลายคนคิดได้และเข้าใจ ก่อนที่จะให้เกิดปัญหาแล้วค่อยแก้ จึงเห็นได้ชัดเจนว่า "อินเตอร์เน็ต" เป็นปัจจัยสำคัญ เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนมากขึ้น และแน้วโน้มที่จะเกี่ยวพันกับชีวิตมากขึ้น
บรรณานุกรม
ยืน ภู่วรวรรณ."อีกมุมหนึ่งของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต" Micro Computer User.ปีที่ 9 ฉบับที่ 107 (2545): 23
วันเสาร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
The dawn of the net
การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่างๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้ สิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนำข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม
เรื่อง The dawn fo the net
เป็นระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทำให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจำ, หน่วยจัดเก็บข้อมูล และอุปกรณ์ต่าง ๆ
เพื่อสะดวกต่อการร่วมใช้ข้อมูล หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอำนวยความสะดวกในการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องได้ตลอดเวลา
การเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่
1.คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server)
2.ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel)
3.สถานีงาน (Workstation or Terminal)
4.อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย(File Server) หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน
ช่องทางการสื่อสาร(Communication Chanel) หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สำหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host
อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System) แบ่งออกได้เป็น
-การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้
-โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สำหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทำหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนำเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
-ฮับ(Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ
เรื่อง The dawn fo the net
เป็นระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทำให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจำ, หน่วยจัดเก็บข้อมูล และอุปกรณ์ต่าง ๆ
เพื่อสะดวกต่อการร่วมใช้ข้อมูล หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอำนวยความสะดวกในการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องได้ตลอดเวลา
การเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่
1.คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server)
2.ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel)
3.สถานีงาน (Workstation or Terminal)
4.อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย(File Server) หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน
ช่องทางการสื่อสาร(Communication Chanel) หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สำหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น
สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host
อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System) แบ่งออกได้เป็น
-การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้
-โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สำหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทำหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนำเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
-ฮับ(Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ
สรุป MOS,DOS,Linux
DOS ย่อมาจากอะไร ?
DOS ย่อมาจากคำว่า " Disk Operating System " หมายถึง ระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของระบบซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการประกอบขึ้นจากชุดโปรแกรมที่ทำหน้าที่ควบคุมดูแลการดำเนินการต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ และประสานการทำงานระหว่างทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์
อ้างอิง http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-9156.html
สรุปว่า คำสั่งของ DOS มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
1. คำสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคำสั่งที่เรียกใช้ได้ทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ เพราะคำสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจำหลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS ส่วนมากจะเป็นคำสั่งที่ใช้อยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น
2. คำสั่งภายนอก (External Command) คำสั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือแผ่น DOS คำสั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ เมื่อต้องการใช้คำสั่งเหล่านี้คอมพิวเตอร์จะเรียกคำสั่งเข้าสู๋หน่วยความจำ ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคำสั่งที่ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคำสั่งนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คำสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น
หน้าที่ของ dosได้ 3 อย่าง คือ
1.จัดการอุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำหน้าที่ประสานการทำงานระหว่างหน่วยรับข้อมูล(Input)และหน่วยแสดงผล(Output)
2.ควบคุมการทำงานของโปรแกรม เช่น การอ่านโปรแกรมหรือคำสั่งขึ้นมาจากดิสค์เตรียมสิ่งต่างๆ สำหรับให้โปรแกรมการทำงานและจัดพื้นที่ในหน่วยความจำกับดิสค์
3.ปฏิบัติตามคำสั่ง ที่ผู้ใช้ดอสรับเข้ามาไปทำการประมวลและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ
Linux
*เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้งานได้ฟรี ทำงานได้บนเครื่องพีซีทั่วไป ที่มีหน่วยประมวลผลกลางตั้งแต่ 80386 ขึ้นไป รวมถึง Motora 680x0, Compaq (Digital) Alpha, PowerPC, SPARC เป็นต้น Linux จึงเป็นระบบปฏิบัติการที่มีความต้องการทรัพยากรของระบบในขั้นต่ำ สามารถทำงานได้รวดเร็ว เนื่องจากมีระบบการจัดการหน่วยความจำเสมือน (Virtual Memory) การจัดทำงานแบบ Multitasking และระบบป้องกันการรบกวนการทำงานระหว่าง Process ต่างๆ
Linux มีความสามารถแบบ UNIX
คือ สามารถใช้งานร่วมกับดอส (DOS) และ Microsoft Windows โดยการแบ่งพาติชั่น ชึ่งมีความสามารถในการใช้งานไฟล์ร่วมกับระบบปฏิบัติการอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น DOS หรือ Microsoft Windows และ Linux เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิด เนื่องจากทุกฟังก์ชันมี Source Code แนบมาพร้อม
DOS ย่อมาจากคำว่า " Disk Operating System " หมายถึง ระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของระบบซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการประกอบขึ้นจากชุดโปรแกรมที่ทำหน้าที่ควบคุมดูแลการดำเนินการต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ และประสานการทำงานระหว่างทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร์
อ้างอิง http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-9156.html
สรุปว่า คำสั่งของ DOS มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
1. คำสั่งภายใน (Internal Command) เป็นคำสั่งที่เรียกใช้ได้ทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปิดใช้งานอยู่ เพราะคำสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหน่วยความจำหลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS ส่วนมากจะเป็นคำสั่งที่ใช้อยู่เสมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น
2. คำสั่งภายนอก (External Command) คำสั่งนี้จะถูกเก็บไว้ในดิสก์หรือแผ่น DOS คำสั่งเหล่านี้จะไม่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำ เมื่อต้องการใช้คำสั่งเหล่านี้คอมพิวเตอร์จะเรียกคำสั่งเข้าสู๋หน่วยความจำ ถ้าแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ไม่มีคำสั่งที่ต้องการใช้อยู่ก็ไม่สามารถเรียกคำสั่งนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น คำสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น
หน้าที่ของ dosได้ 3 อย่าง คือ
1.จัดการอุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำหน้าที่ประสานการทำงานระหว่างหน่วยรับข้อมูล(Input)และหน่วยแสดงผล(Output)
2.ควบคุมการทำงานของโปรแกรม เช่น การอ่านโปรแกรมหรือคำสั่งขึ้นมาจากดิสค์เตรียมสิ่งต่างๆ สำหรับให้โปรแกรมการทำงานและจัดพื้นที่ในหน่วยความจำกับดิสค์
3.ปฏิบัติตามคำสั่ง ที่ผู้ใช้ดอสรับเข้ามาไปทำการประมวลและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ
Linux
*เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้งานได้ฟรี ทำงานได้บนเครื่องพีซีทั่วไป ที่มีหน่วยประมวลผลกลางตั้งแต่ 80386 ขึ้นไป รวมถึง Motora 680x0, Compaq (Digital) Alpha, PowerPC, SPARC เป็นต้น Linux จึงเป็นระบบปฏิบัติการที่มีความต้องการทรัพยากรของระบบในขั้นต่ำ สามารถทำงานได้รวดเร็ว เนื่องจากมีระบบการจัดการหน่วยความจำเสมือน (Virtual Memory) การจัดทำงานแบบ Multitasking และระบบป้องกันการรบกวนการทำงานระหว่าง Process ต่างๆ
Linux มีความสามารถแบบ UNIX
คือ สามารถใช้งานร่วมกับดอส (DOS) และ Microsoft Windows โดยการแบ่งพาติชั่น ชึ่งมีความสามารถในการใช้งานไฟล์ร่วมกับระบบปฏิบัติการอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น DOS หรือ Microsoft Windows และ Linux เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิด เนื่องจากทุกฟังก์ชันมี Source Code แนบมาพร้อม
วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
สรุป Networking Animations
สรุปNetworking Animations
1. No Networkไม่มีเครือข่ายในการรับส่งข้อมูล
2. Hubอุปกรณ์ที่ใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณไปยังทุกport ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทีมีการใช้งานอยู่แต่ถ้าport ไม่ตรงก็ไม่สามารถรับได้
3. Switchเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลางสำหรับเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่อง เข้าด้วยกันโดยจะเลือกส่งข้อมูลให้กับเครื่องปลายทางที่จำเป็นต้องใช้ข้อมูลนั้น
4. Switched Network With No Serverการติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่าทางSwitch โดยไม่มีเครื่อง Server ทำให้ไม่สามารถเข้าใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของคนอื่นได้และไม่สามารถค้นหาข้อมูลของผู้ใช้ผ่านเครื่องอื่นได้
5. Switched Network With Serverการติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านเครื่องServerทำให้สารถเข้าใช้เครื่องต่างๆโดยผ่านทางServerเพราะเครื่อง Serverทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลแล้วส่งผ่านไปยังSwitchเข้าไปทางportต่างๆทำให้สามารถเข้าดูข้อมูลของผู้ใช้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆได้
6. Adding Switchesการส่งผ่านข้อมูออกทางportผ่านทางSwitchไปยังเครื่องServerอื่นๆ
7. The Address Resolution Protocol (ARP)การส่งข้อมูลโดยการระบุ ip -mac address ของผู้รับโดยผ่านทางเน็ตเวิร์คโดยภายในเครื่องจะระบุ ip -mac address ไว้ถ้าต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องผู้รับอื่นๆต้องระบุ ip -mac address ของเครื่องผู้รับเพื่อสามารถให้ผู้รับที่เราต้องการได้แต่ถ้าไม่ใช่ก็ไม่สามารถรับข้อมูลได้ และผู้รับก็จะส่งip -mac address ของผู้ส่งกับคืนมา
8. ARP with Multiple Networksการส่งของมูลของเครือข่าย lan 1 ไปยัง เครื่อข่าย lan 2 โดยผ่านทาง router และก็ระบุip -mac addressของผู้รับในเครื่อข่าย lan 2 เพื่อให้ส่งข้อมูลไปถึงผู้รับที่ต้องการส่งได้ถูกต้อง
9. Dynamic Host Configuration Protocol (DHCP)การส่งข้อมูลไปยังเครื่องต่างๆในเครือข่ายโดย IP Addres(DHCP server) มีหน้าที่แจก IP ในเครือข่ายไม่ให้ซ้ำ
10. Routing and Forwardingการส่งข้อมูล ผ่านตามทางของเครื่อง router ไปยังเครื่อข่ายต่างๆ
11. IP Subnetsการส่งข้อมูลไปยังเครื่องลูกเครื่อข่าย และส่งผ่านทางrouter ไปยังเครื่อข่ายอื่นๆโดยอาศัยrouter ในการแบ่ง ip เพื่อให้ง่ายต่อการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
12. TCP Connectionsเป็นตัวจัดการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวก โดยการส่งข้อมูลผ่านทางrouterเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องสามารถติดต่อสื่อสารและเเลกบริการต่างๆ
13. TCP Multiplexingการส่งข้อมูลโดยการระบุหมายเลขportของเครื่องผู้รับไว้โดยส่งข้อมูลผ่านทางrouterไปยังเครื่องที่ระบุหมายเลขportไว้
14. TCP Buffering and Sequencingการส่งข้อมูล ใช้ บัฟเฟอร์ ช่วยสำหรับ การ ส่ง และ รับ การ เชื่อม ต่อ แต่ละBuffer ผู้ส่งที่ต้องการส่งข้อมูลที่ยังไม่พร้อมส่ง TCP sequencing เป็นการสนับสนุนข้อมูลเพื่อให้สามารถสั่งใหม่และตรวจสอบการทำซ้ำอีกครั้งได้
15. User Datagram Protocol (UDP)UDPช่วยให้กระบวนการให้บริการการสื่อสารโดยการเพิ่มระดับของ กว่าพื้นฐานโปรโตคอลเส้นทาง IP ดังนั้น UDP สามารถสมัครหลายอันในแต่ละโฮสต์ เช่น TCP, UDP จะใช้หมายเลขพอร์ตเพื่อระบุที่มาและกระบวนการตามเป้าหมายแต่ UDP ไม่มีคุณสมบัติ เช่นการเชื่อมต่อ ลำดับการควบคุมการถ่ายข้อมูลและการควบคุมความแออัด
16. IP Fragmentationจะแยกส่วนเป็นส่วนเล็กๆในเราเตอร์ ถ้าจะส่งผ่านทางเครือข่ายที่มี MTU ที่มีขนาดเล็กกว่า datagram IP ชิ้นส่วนทั้งหมดที่อยู่ในที่เดียวกัน
17. Switch Congestionการส่งข้อมูลมายังSwitch bufferจะทำการเก็บข้อมูล และส่งข้อมูลไปยังผู้รับโดยมีการพักข้อมูลไว้ไม่ให้ส่งข้อมูลออกไป เร็วเกินไป
18. TCP Flow Controlการรับและการส่งเพื่อไปประยุกต์เป็นกระแสไบต์ จำนวนไบต์ในส่วน TCP จะไม่กำหนดโดยขอบเขตของ จำนวนข้อมูล bytes TCP ส่งไปยังเครือข่ายจะพิจารณาจากเครือข่ายต้นทาง MTU (Maximum Transmission Unit)
19. Internet Accessการขอใช้สัญญาณจากผู้ให้บริการผ่านทางระบบเครื่อข่าย
20. Email Protocolsเป็นการรับส่งข้อมูลจากผู้ส่ง ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆโดยผ่านการประมวณการส่งจดหมาย ว่า มีuser ตรงกับผู้รับหรือไม่ ถ้าไม่ใช่ก้อไม่สามารถรับข้อมูล
21. Wireless Network and Multiple Access with Collision Avoidanceเครือข่ายไร้สายแบบหลาย Access กับการหลีกเลี่ยงการชน :IEEE 802.11standard สำหรับเครือข่ายไร้สายการส่ง ภาพในสถานการณ์ต่างๆชัดเจนให้จะใช้การส่งแบบ (RTS) และ (CTS) เพื่อลด collisions RTS และ CTS มีประโยชน์มากในการแก้โหนดที่ซ่อนไว้และนำปัญหาโหนดในเครือข่ายไร้สาย การแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ส่งและรับ RTS และ CTS จะแจ้งสถานีใกล้เคียงที่กำลังเริ่มส่งข้อมูลระยะเวลาใน RTS / CTS เฟรมใช้ในการกำหนดเวกเตอร์การจัดสรรเครือข่าย (NAV) ในสถานีทั้งหมดที่อยู่ในช่วงรับของ RTS / เฟรม CTS
22. Virtual Private Network (VPN)การส่งข้อมูลผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับโดยตัวนำเส้นทางเครือข่ายทางที่เหมือนกันโดยrouter จะตรวจสอบ ip ของผู้รับด้วย
23. Public Key Encryptionการเข้ารหัสแปลงข้อความโดยใช้กุญแจลับเพื่อไม่ให้ผู้บุกรุกสามารถดัดแปลงข้อมูลได้ถ้าไม่มีกุญแจลับ การเข้ารหัสคีย์สาธารณะจะใช้คีย์คู่สำหรับการเข้ารหัสและถอดรหัสที่แตกต่างกัน ผู้เข้าร่วมทุกคนเป็นเจ้าของ สิ่งหนึ่งที่สำคัญคือบุคคลสำคัญที่ใช้เฉพาะเจ้าของที่จะถอดรหัสข้อความ คีย์อื่นๆเรียกว่าคีย์สาธารณะและมีการใช้สำหรับการเข้ารหัส ส่งออกคีย์สาธารณะนี้ทุกคนที่ต้องการเข้ารหัสข้อความสำหรับเจ้าของ
24. Firewallsการรับส่งข้อมูล ในระบบเครื่อข่ายโดยมีFirewallsเป็นเครื่องมือในการรักษาความปลอดภัยในการควบคุมการรับส่งข้อมูลภายในเน็ทเวิร์ค25 Stop-and-Wait ARQการรับส่งข้อมูลโดยมีการ หยุด การ รอข้อมูล ที่จะส่งออกไปจนกว่าจะได้รับ ACK (แจ้ง) กับมาจากการรับก่อนที่จะส่งข้อมูลถัดไป ชุดส่งที่เรียกว่า หมดเวลา คือ ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับ ACK ก่อนหมดเวลาที่ส่ง retransmits กรอบเดียวกันอีกครั้ง
26. Go-Back-N ARQการรับส่งข้อมูลซ้ำอัตโนมัติ ผู้ส่งส่งจำนวนข้อมูลที่กำหนดโดยไม่ต้องรอ ACK บุคคลจากรับในหยุดและรอรับรวมกับ ACK หมายเลขถัดแต่ละลำดับของกรอบคาดสั่งภาพ รับมองข้ามใดๆ ขนาดหน้าต่างที่ผู้ส่ง shrinks กับกรอบส่งทุกเพิ่มขึ้นด้วย ACK ได้รับถ้าผู้ส่งไม่ได้รับ ACK สำหรับกรอบหลังจากหมดเวลาให้ผู้ส่งจะกลับไป
27. Selective Repeat ARQการรับส่งข้อมูลโดยการซ้ำอัตโนมัติ เป็นหนึ่งในการส่ง เลือกซ้ำกับผู้ส่งจำนวนข้อมูลที่กำหนดโดยไม่ต้องรอ ACK จากบุคคลรับในการหยุดและรอรับแต่ส่ง ACK สำหรับข้อมูลแต่ละบุคคลซึ่งไม่ต้องการ ACK กลับไป ยอมรับภาพที่บัฟเฟอร์
28. The OSI modelเป็นพิมพ์เขียวทั่วไปที่ชี้แนะความเข้าใจและการออกแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชันการทำงานเป็นพาร์ทิชันเครือข่ายเป็นเจ็ดชั้น Layering ผลวิธีการในการออกแบบ modular มากกว่าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ลงในส่วนจัดการ
29. Peer-to-peer (P2P) Computer Networkลูกค้าในเครือข่ายเซิร์ฟเวอร์แตกต่างจากในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ P2P ทุก peers เท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละหน้าที่พร้อมกันเป็นทั้งลูกค้าและเซิร์ฟเวอร์ ลักษณะการกระจายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ P2P ช่วยให้เข้าร่วมในทรัพยากรร่วมกัน เช่น แบนด์วิธพื้นที่จัดเก็บและพลังงานคอมพิวเตอร์
30. Ad-Hoc Networkเป็นเครือข่ายไร้สายที่ไม่ต้องการจุดเชื่อมในการจัดการการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ของ คอมพิวเตอร์แต่ละใน Ad-Hoc Network สามารถส่งข้อมูลระหว่างคู่อื่นๆของคอมพิวเตอร์ จากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
1. No Networkไม่มีเครือข่ายในการรับส่งข้อมูล
2. Hubอุปกรณ์ที่ใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการกระจายสัญญาณไปยังทุกport ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทีมีการใช้งานอยู่แต่ถ้าport ไม่ตรงก็ไม่สามารถรับได้
3. Switchเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลางสำหรับเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่อง เข้าด้วยกันโดยจะเลือกส่งข้อมูลให้กับเครื่องปลายทางที่จำเป็นต้องใช้ข้อมูลนั้น
4. Switched Network With No Serverการติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่าทางSwitch โดยไม่มีเครื่อง Server ทำให้ไม่สามารถเข้าใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของคนอื่นได้และไม่สามารถค้นหาข้อมูลของผู้ใช้ผ่านเครื่องอื่นได้
5. Switched Network With Serverการติดต่อสื่อสารข้อมูลผ่านเครื่องServerทำให้สารถเข้าใช้เครื่องต่างๆโดยผ่านทางServerเพราะเครื่อง Serverทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลแล้วส่งผ่านไปยังSwitchเข้าไปทางportต่างๆทำให้สามารถเข้าดูข้อมูลของผู้ใช้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์อื่นๆได้
6. Adding Switchesการส่งผ่านข้อมูออกทางportผ่านทางSwitchไปยังเครื่องServerอื่นๆ
7. The Address Resolution Protocol (ARP)การส่งข้อมูลโดยการระบุ ip -mac address ของผู้รับโดยผ่านทางเน็ตเวิร์คโดยภายในเครื่องจะระบุ ip -mac address ไว้ถ้าต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องผู้รับอื่นๆต้องระบุ ip -mac address ของเครื่องผู้รับเพื่อสามารถให้ผู้รับที่เราต้องการได้แต่ถ้าไม่ใช่ก็ไม่สามารถรับข้อมูลได้ และผู้รับก็จะส่งip -mac address ของผู้ส่งกับคืนมา
8. ARP with Multiple Networksการส่งของมูลของเครือข่าย lan 1 ไปยัง เครื่อข่าย lan 2 โดยผ่านทาง router และก็ระบุip -mac addressของผู้รับในเครื่อข่าย lan 2 เพื่อให้ส่งข้อมูลไปถึงผู้รับที่ต้องการส่งได้ถูกต้อง
9. Dynamic Host Configuration Protocol (DHCP)การส่งข้อมูลไปยังเครื่องต่างๆในเครือข่ายโดย IP Addres(DHCP server) มีหน้าที่แจก IP ในเครือข่ายไม่ให้ซ้ำ
10. Routing and Forwardingการส่งข้อมูล ผ่านตามทางของเครื่อง router ไปยังเครื่อข่ายต่างๆ
11. IP Subnetsการส่งข้อมูลไปยังเครื่องลูกเครื่อข่าย และส่งผ่านทางrouter ไปยังเครื่อข่ายอื่นๆโดยอาศัยrouter ในการแบ่ง ip เพื่อให้ง่ายต่อการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
12. TCP Connectionsเป็นตัวจัดการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างสะดวก โดยการส่งข้อมูลผ่านทางrouterเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สองเครื่องสามารถติดต่อสื่อสารและเเลกบริการต่างๆ
13. TCP Multiplexingการส่งข้อมูลโดยการระบุหมายเลขportของเครื่องผู้รับไว้โดยส่งข้อมูลผ่านทางrouterไปยังเครื่องที่ระบุหมายเลขportไว้
14. TCP Buffering and Sequencingการส่งข้อมูล ใช้ บัฟเฟอร์ ช่วยสำหรับ การ ส่ง และ รับ การ เชื่อม ต่อ แต่ละBuffer ผู้ส่งที่ต้องการส่งข้อมูลที่ยังไม่พร้อมส่ง TCP sequencing เป็นการสนับสนุนข้อมูลเพื่อให้สามารถสั่งใหม่และตรวจสอบการทำซ้ำอีกครั้งได้
15. User Datagram Protocol (UDP)UDPช่วยให้กระบวนการให้บริการการสื่อสารโดยการเพิ่มระดับของ กว่าพื้นฐานโปรโตคอลเส้นทาง IP ดังนั้น UDP สามารถสมัครหลายอันในแต่ละโฮสต์ เช่น TCP, UDP จะใช้หมายเลขพอร์ตเพื่อระบุที่มาและกระบวนการตามเป้าหมายแต่ UDP ไม่มีคุณสมบัติ เช่นการเชื่อมต่อ ลำดับการควบคุมการถ่ายข้อมูลและการควบคุมความแออัด
16. IP Fragmentationจะแยกส่วนเป็นส่วนเล็กๆในเราเตอร์ ถ้าจะส่งผ่านทางเครือข่ายที่มี MTU ที่มีขนาดเล็กกว่า datagram IP ชิ้นส่วนทั้งหมดที่อยู่ในที่เดียวกัน
17. Switch Congestionการส่งข้อมูลมายังSwitch bufferจะทำการเก็บข้อมูล และส่งข้อมูลไปยังผู้รับโดยมีการพักข้อมูลไว้ไม่ให้ส่งข้อมูลออกไป เร็วเกินไป
18. TCP Flow Controlการรับและการส่งเพื่อไปประยุกต์เป็นกระแสไบต์ จำนวนไบต์ในส่วน TCP จะไม่กำหนดโดยขอบเขตของ จำนวนข้อมูล bytes TCP ส่งไปยังเครือข่ายจะพิจารณาจากเครือข่ายต้นทาง MTU (Maximum Transmission Unit)
19. Internet Accessการขอใช้สัญญาณจากผู้ให้บริการผ่านทางระบบเครื่อข่าย
20. Email Protocolsเป็นการรับส่งข้อมูลจากผู้ส่ง ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆโดยผ่านการประมวณการส่งจดหมาย ว่า มีuser ตรงกับผู้รับหรือไม่ ถ้าไม่ใช่ก้อไม่สามารถรับข้อมูล
21. Wireless Network and Multiple Access with Collision Avoidanceเครือข่ายไร้สายแบบหลาย Access กับการหลีกเลี่ยงการชน :IEEE 802.11standard สำหรับเครือข่ายไร้สายการส่ง ภาพในสถานการณ์ต่างๆชัดเจนให้จะใช้การส่งแบบ (RTS) และ (CTS) เพื่อลด collisions RTS และ CTS มีประโยชน์มากในการแก้โหนดที่ซ่อนไว้และนำปัญหาโหนดในเครือข่ายไร้สาย การแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ส่งและรับ RTS และ CTS จะแจ้งสถานีใกล้เคียงที่กำลังเริ่มส่งข้อมูลระยะเวลาใน RTS / CTS เฟรมใช้ในการกำหนดเวกเตอร์การจัดสรรเครือข่าย (NAV) ในสถานีทั้งหมดที่อยู่ในช่วงรับของ RTS / เฟรม CTS
22. Virtual Private Network (VPN)การส่งข้อมูลผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับโดยตัวนำเส้นทางเครือข่ายทางที่เหมือนกันโดยrouter จะตรวจสอบ ip ของผู้รับด้วย
23. Public Key Encryptionการเข้ารหัสแปลงข้อความโดยใช้กุญแจลับเพื่อไม่ให้ผู้บุกรุกสามารถดัดแปลงข้อมูลได้ถ้าไม่มีกุญแจลับ การเข้ารหัสคีย์สาธารณะจะใช้คีย์คู่สำหรับการเข้ารหัสและถอดรหัสที่แตกต่างกัน ผู้เข้าร่วมทุกคนเป็นเจ้าของ สิ่งหนึ่งที่สำคัญคือบุคคลสำคัญที่ใช้เฉพาะเจ้าของที่จะถอดรหัสข้อความ คีย์อื่นๆเรียกว่าคีย์สาธารณะและมีการใช้สำหรับการเข้ารหัส ส่งออกคีย์สาธารณะนี้ทุกคนที่ต้องการเข้ารหัสข้อความสำหรับเจ้าของ
24. Firewallsการรับส่งข้อมูล ในระบบเครื่อข่ายโดยมีFirewallsเป็นเครื่องมือในการรักษาความปลอดภัยในการควบคุมการรับส่งข้อมูลภายในเน็ทเวิร์ค25 Stop-and-Wait ARQการรับส่งข้อมูลโดยมีการ หยุด การ รอข้อมูล ที่จะส่งออกไปจนกว่าจะได้รับ ACK (แจ้ง) กับมาจากการรับก่อนที่จะส่งข้อมูลถัดไป ชุดส่งที่เรียกว่า หมดเวลา คือ ถ้าผู้ส่งไม่ได้รับ ACK ก่อนหมดเวลาที่ส่ง retransmits กรอบเดียวกันอีกครั้ง
26. Go-Back-N ARQการรับส่งข้อมูลซ้ำอัตโนมัติ ผู้ส่งส่งจำนวนข้อมูลที่กำหนดโดยไม่ต้องรอ ACK บุคคลจากรับในหยุดและรอรับรวมกับ ACK หมายเลขถัดแต่ละลำดับของกรอบคาดสั่งภาพ รับมองข้ามใดๆ ขนาดหน้าต่างที่ผู้ส่ง shrinks กับกรอบส่งทุกเพิ่มขึ้นด้วย ACK ได้รับถ้าผู้ส่งไม่ได้รับ ACK สำหรับกรอบหลังจากหมดเวลาให้ผู้ส่งจะกลับไป
27. Selective Repeat ARQการรับส่งข้อมูลโดยการซ้ำอัตโนมัติ เป็นหนึ่งในการส่ง เลือกซ้ำกับผู้ส่งจำนวนข้อมูลที่กำหนดโดยไม่ต้องรอ ACK จากบุคคลรับในการหยุดและรอรับแต่ส่ง ACK สำหรับข้อมูลแต่ละบุคคลซึ่งไม่ต้องการ ACK กลับไป ยอมรับภาพที่บัฟเฟอร์
28. The OSI modelเป็นพิมพ์เขียวทั่วไปที่ชี้แนะความเข้าใจและการออกแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชันการทำงานเป็นพาร์ทิชันเครือข่ายเป็นเจ็ดชั้น Layering ผลวิธีการในการออกแบบ modular มากกว่าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ลงในส่วนจัดการ
29. Peer-to-peer (P2P) Computer Networkลูกค้าในเครือข่ายเซิร์ฟเวอร์แตกต่างจากในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ P2P ทุก peers เท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละหน้าที่พร้อมกันเป็นทั้งลูกค้าและเซิร์ฟเวอร์ ลักษณะการกระจายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ P2P ช่วยให้เข้าร่วมในทรัพยากรร่วมกัน เช่น แบนด์วิธพื้นที่จัดเก็บและพลังงานคอมพิวเตอร์
30. Ad-Hoc Networkเป็นเครือข่ายไร้สายที่ไม่ต้องการจุดเชื่อมในการจัดการการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ของ คอมพิวเตอร์แต่ละใน Ad-Hoc Network สามารถส่งข้อมูลระหว่างคู่อื่นๆของคอมพิวเตอร์ จากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
Lab CCPIP
คำสั่ง netstat , netstat -a
- แสดงสถานะของเครือข่ายว่ามีโปรแกรมใดเปิดให้บริการ
คำสั่ง xinetd , xinetd -d
- ดูบริการภายใน xinetd ว่าอะไรเปิดอยู่บ้าง ทำให้เข้าไปเปิดที่ห้อง /etc/xinetd.d แล้วเลือกเปิดบริการเฉพาะที่ต้องการ เช่นแก้แฟ้ม talk เพื่อให้เปิดบริการ talk ใน server เป็นต้น
คำสั่ง whereis
- ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด แต่ค้นได้เฉพาะที่กำหนดไว้ใน PATH เท่านั้น
หากต้องการค้นทั้งเครื่องต้องใช้คำสั่ง find
คำสั่ง telnet
- ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
คำสั่ง df
- แสดงการเนื้อที่ใช้งานทั้งหมดของ Harddisk ว่าเหลือเท่าใด
คำสั่ง du
- แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด
คำสั่ง ps
- แสดง Process หรือโปรแกรมที่ประมวลผลอยู่ในระบบขณะนั้น
*** คำสั่ง Ping คือ คำสั่งที่ใช้ในการทดสอบสถานะการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายว่าขณะนั้นคุณสามารถเชื่อมต่อกับเป้าหมายปลายทางได้หรือไม่ คำว่า “ เป้าหมายปลายทาง “ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่สามารถกำหนดหมายเลข IP Address ได้ ,ชื่อของเครื่องหรืออุปกรณ์ในระบบเครือข่าย ,ชื่อของเว็บไซต์
ตัวอย่าง เช่น
-Ping 192.168.9.63 หรือ Ping 209.131.36.158
-Ping www.google.com
ผลลัพธ์ที่ได้จากคำสั่ง "Ping"
1. ผลลัพธ์ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า “ Reply from “ หมายความว่า คุณสามารถติดต่อกับเป้าหมายปลายทางได้
2. ผลลัพธ์ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า “ Request timed out “ หมายความว่า คุณไม่สามารถติดต่อกับเป้าหมายปลายทาง อาจจะมีปัญหาทางฝั่งปลายทางหรือทางฝั่งคุณเอง
คำสั่ง
-t Ping ไปยัง Host ตามที่ระบุเรื่อยๆ จนกว่าจะสั่งยกเลิกโดยกดแป้น Ctrl-C.และหากต้องการดูสถิติให้กดแป้น Ctrl-Break
-a เปลี่ยนหมายเลข IP Address ของ Host เป็นชื่อแบบตัวอักษร
-n count Ping แบบระบุจำนวน echo ที่จะส่ง
-l size กำหนดขนาด buffer
-f ตั้งค่าไม่ให้แยก flag ใน packet.
-i TTL Ping แบบกำหนด Time To Live โดยกำหนดค่าตั้งแต่ 1-255
-v TOS กำหนดประเภทของบริการ (Type of service)
-r count Ping แบบให้มีการบันทึกเส้นทางและนับจำนวนครั้งในการ hops จนกว่าจะถึงปลายทาง
-s count Ping แบบนับเวลาในการ hop แต่ละครั้ง
-j host-list Loose source route along host-list.
-k host-list Strict source route along host-list.
-w timeout Ping แบบกำหนดเวลารอคอยการตอบรับ
คำสั่งarp
-s กำหนดว่าเราจะรับ arp จากเครื่องไหน กำหนดแบบ static
arp -a ดูว่าเครื่องไหนตอบรับ arp บ้างปกติจะเป็นเร้าเตอร์ แต่ถ้ามีคนเล่น net cut จะขึ้นเครื่องนั้นด้วย
http://forums.overclockzone.com/forums/archive/index.php/t-261725.html
คำสั่ง IPConfig
- เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่
http://www.varietypc.net/main/archives/692
- แสดงสถานะของเครือข่ายว่ามีโปรแกรมใดเปิดให้บริการ
คำสั่ง xinetd , xinetd -d
- ดูบริการภายใน xinetd ว่าอะไรเปิดอยู่บ้าง ทำให้เข้าไปเปิดที่ห้อง /etc/xinetd.d แล้วเลือกเปิดบริการเฉพาะที่ต้องการ เช่นแก้แฟ้ม talk เพื่อให้เปิดบริการ talk ใน server เป็นต้น
คำสั่ง whereis
- ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด แต่ค้นได้เฉพาะที่กำหนดไว้ใน PATH เท่านั้น
หากต้องการค้นทั้งเครื่องต้องใช้คำสั่ง find
คำสั่ง telnet
- ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
คำสั่ง df
- แสดงการเนื้อที่ใช้งานทั้งหมดของ Harddisk ว่าเหลือเท่าใด
คำสั่ง du
- แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด
คำสั่ง ps
- แสดง Process หรือโปรแกรมที่ประมวลผลอยู่ในระบบขณะนั้น
*** คำสั่ง Ping คือ คำสั่งที่ใช้ในการทดสอบสถานะการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายว่าขณะนั้นคุณสามารถเชื่อมต่อกับเป้าหมายปลายทางได้หรือไม่ คำว่า “ เป้าหมายปลายทาง “ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่สามารถกำหนดหมายเลข IP Address ได้ ,ชื่อของเครื่องหรืออุปกรณ์ในระบบเครือข่าย ,ชื่อของเว็บไซต์
ตัวอย่าง เช่น
-Ping 192.168.9.63 หรือ Ping 209.131.36.158
-Ping www.google.com
ผลลัพธ์ที่ได้จากคำสั่ง "Ping"
1. ผลลัพธ์ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า “ Reply from “ หมายความว่า คุณสามารถติดต่อกับเป้าหมายปลายทางได้
2. ผลลัพธ์ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า “ Request timed out “ หมายความว่า คุณไม่สามารถติดต่อกับเป้าหมายปลายทาง อาจจะมีปัญหาทางฝั่งปลายทางหรือทางฝั่งคุณเอง
คำสั่ง
-t Ping ไปยัง Host ตามที่ระบุเรื่อยๆ จนกว่าจะสั่งยกเลิกโดยกดแป้น Ctrl-C.และหากต้องการดูสถิติให้กดแป้น Ctrl-Break
-a เปลี่ยนหมายเลข IP Address ของ Host เป็นชื่อแบบตัวอักษร
-n count Ping แบบระบุจำนวน echo ที่จะส่ง
-l size กำหนดขนาด buffer
-f ตั้งค่าไม่ให้แยก flag ใน packet.
-i TTL Ping แบบกำหนด Time To Live โดยกำหนดค่าตั้งแต่ 1-255
-v TOS กำหนดประเภทของบริการ (Type of service)
-r count Ping แบบให้มีการบันทึกเส้นทางและนับจำนวนครั้งในการ hops จนกว่าจะถึงปลายทาง
-s count Ping แบบนับเวลาในการ hop แต่ละครั้ง
-j host-list Loose source route along host-list.
-k host-list Strict source route along host-list.
-w timeout Ping แบบกำหนดเวลารอคอยการตอบรับ
คำสั่งarp
-s กำหนดว่าเราจะรับ arp จากเครื่องไหน กำหนดแบบ static
arp -a ดูว่าเครื่องไหนตอบรับ arp บ้างปกติจะเป็นเร้าเตอร์ แต่ถ้ามีคนเล่น net cut จะขึ้นเครื่องนั้นด้วย
http://forums.overclockzone.com/forums/archive/index.php/t-261725.html
คำสั่ง IPConfig
- เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่
http://www.varietypc.net/main/archives/692
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)